Item request has been placed! ×
Item request cannot be made. ×
loading  Processing Request

Development of instructional management model through self-learning skills of nursing students: case study of midwifery subjects. ; การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนผ่านทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ของนักศึกษาพยาบาล: กรณีศึกษารายวิชาการพยาบาลผดุงครรภ์

Item request has been placed! ×
Item request cannot be made. ×
loading   Processing Request
  • معلومة اضافية
    • بيانات النشر:
      Faculty of Nursing, Siam University
    • الموضوع:
      2020
    • Collection:
      Thai Journals Online (ThaiJO)
    • نبذة مختصرة :
      Purpose: To 1) develop a model of teaching and learning through self-learning skills of students in midwifery courses and 2) evaluate the effectiveness of instructional management model through self-learning skills of students in midwifery subjects. Design: Action Research Methods: The third year nursing student who was enrolled in the midwifery course, academic year 2018 and willing to participate for 91 people were studied. The research process included 4 step: 1) Analyze problems and review solutions. 2) Develop teaching and learning management methods. 3) Teaching and learning. 4) Evaluation of teaching and learning management. The tools consisted of 2 parts: 1) The tools used in teaching and learning consisted of lesson plans, videos demonstration, Modeling for delivery, equipment and simulations and 2) Tools used for collecting data, including questionnaires, opinions about the benefits that students received in the teaching and learning process in actual use when students have performed various care activities in the maternity period in various aspects. The answer was the rating scale (5 scales) and questions showing the students' feelings towards manage and teaching methods that was 1 open-ended questions. The quantitative data analysis using percentage, mean and qualitative data analysis using content analysis. Result: The results of this development of teaching and learning management model consist of 4 theoretical teaching sessions with content related to the birth mechanism. The learning activities consisting of review of lessons before entering the class of students, lecture through the power point and video presentation developed by the instructor. Then, students had to learn by themselves through practice. There was a simulation situation in the delivery room and knowledge testing after the practice. When assessed students' perceptions about the management style It was found that the students felt that this teaching activity was useful and practical. ; วัตถุประสงค์ เพื่อ พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนผ่านทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาในรายวิชาการพยาบาลผดุงครรภ์ เพื่อประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนผ่านทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาในรายวิชาการพยาบาลผดุงครรภ์ รูปแบบการวิจัย การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 ลงทะเบียนเรียนรายวิชาการพยาบาบผดุงครรภ์ ปีการศึกษา 2561 และยินดีตอบแบบประเมินการจัดการเรียนการสอน จำนวน 91 คน กำหนดการดำเนินการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนออกเป็น 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) วิเคราะห์ปัญหาและทบทวนแนวทางการแก้ไข 2) พัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอน 3) จัดการเรียนการสอน และ 4) ประเมินผลการจัดการเรียนการสอน เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย แผนการสอน วีดีทัศน์สาธิตการทำคลอด อุปกรณ์การทำคลอด หุ่นจำลองในการทำคลอด และสถานการณ์จำลอง และ 2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่นักศึกษาได้รับในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ในการนำไปใช้จริงเมื่อนักศึกษาได้ไปปฏิบัติกิจกรรมการดูแลในระยะคลอดกับผู้คลอดในด้านต่างๆ จำนวน 5 ด้าน ตนเอง ลักษณะคำตอบเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ และ ข้อคำถามการแสดงความรู้สึกของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนที่มีลักษณะเป็นคำถามปลายเปิด 1 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis) ผลการวิจัย การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนในครั้งนี้ ประกอบด้วย การจัดการสอนภาคทฤษฎี 4 คาบเรียน โดยมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับ กลไกการคลอด การพยาบาลในระยะที่ 1 – 4 ของการคลอด และการดูแลทารกแรกเกิดทันที โดยมีกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบด้วย การทบทวนบทเรียนก่อนเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การบรรยายโดยผ่าน power point และ วีดีทัศน์ที่พัฒนาขึ้นโดยอาจารย์ผู้สอน จากนั้นนักศึกษามีการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการฝึกทบทวนตามวีดีทัศน์ มีการฝึกสถานการณ์จำลองกระบวนการคลอดในห้องคลอด และการทบทวนความรู้ภายหลังการสอบปฏิบัติสถานการณ์จำลองเสมือนจริง และเมื่อประเมินการรับรู้ของนักศึกษาที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนว่า พบว่านักศึกษารู้สึกกิจกรรมการสอนครั้งนี้มีประโยชน์และสามารถนำไปใช้จริงเมื่อนักศึกษาได้ไปปฏิบัติกิจกรรมการดูแลในระยะคลอดกับผู้คลอด
    • File Description:
      application/pdf
    • Relation:
      https://www.tci-thaijo.org/index.php/nursingsiamjournal/article/view/195800/162418; https://www.tci-thaijo.org/index.php/nursingsiamjournal/article/view/195800
    • الرقم المعرف:
      10.14456/jnsu.v20i39.195800
    • Rights:
      Copyright (c) 2020 Journal of Nursing, Siam University ; https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
    • الرقم المعرف:
      edsbas.AA71C428