Item request has been placed! ×
Item request cannot be made. ×
loading  Processing Request

การนำนโยบายการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไปปฏิบัติ : ศึกษากรณีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ; The implementation of natural resources and environmental policy : a case study of Phanakhon Sri Ayutthaya Province

Item request has been placed! ×
Item request cannot be made. ×
loading   Processing Request
  • معلومة اضافية
    • Contributors:
      ประเสริฐ รักไทยดี, อาจารย์ที่ปรึกษา
    • بيانات النشر:
      สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
    • الموضوع:
      1997
    • Collection:
      NIDA (National Institute of Development Administration): Wisdom Repository / สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
    • نبذة مختصرة :
      Methodology: Descriptive statistics ; วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (พัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2540. ; การศึกษาการนำนโยบายการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไปปฏิบัติ ศึกษากรณีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา ผลสำเร็จและล้มเหลวของการนำนโยบายไปปฏิบัติ โดย ศึกษาถึงกระบวนการเกี่ยวกับความชัดเจนในวัตถุประสงค์ของนโยบาย การกำหนดกิจกรรมและการมอบหมายงาน มาตรการควบคุมและประเมินผล การสนับสนุนจากส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น และโครงสร้างขององค์กรและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับนโยบาย ตลอดจน เพื่อใช้เสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการในนโยบายด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ต่อพื้นที่ที่ศึกษา โดยทำการศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิและจากการสัมภาษณ์คณะกรรมการการจัดการสิ่งแวดล้อม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 18 คน / ผลการศึกษาพบว่า การนำนโยบายสิ่งแวดล้อมไปปฏิบัติ ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยานั้น ผู้ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับนโยบาย อาศัยบุคลากรจากหน่วยงานอื่น ๆ และงบประมาณที่ใช้ก็จะมาจากงบประมาณในแหล่งต่าง ๆ โดยงบประมาณส่วนใหญ่ได้มาจากกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ในส่วนของกระบวนการนำนโยบายไปปฏิบัติพบว่าจังหวัดได้มีการจัดทำนโยบายตรงตามปัญหาที่ประสบอยู่ ซึ่งสามารถสรุปผลความสำเร็จและความล้อมเหลวของนโยบายได้ดังนี้ / 1. ความชัดเจนในวัตถุประสงค์ของนโยบาย ส่วนใหญ่แล้วจะทราบนโยบายการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากเป็นผู้ที่มีส่วนร่วมในการวางแผนนโยบายระดับจังหวัดทั้งสิ้น แต่นโยบายและวัตถุประสงค์ที่เป็นระดับกระทรวงไม่มีความชัดเจน / 2. การกำหนดกิจกรรมและการมอบหมายงาน ส่วนใหญ่มีความเห็นว่ามีความสอดคล้องตรงตามวัตถุประสงค์ของจังหวัด การมอบหมายงานในระดับกระทรวง เป็นการมอบหมายงาน แต่ไม่มีอำนาจในการโทษแก่ผู้ที่กระทำผิดตามพระราชบัญญัติสิ่งแวดล้อมได้ / 3. มาตรการควบคุมและประเมินผล จังหวัดมีการควบคุมและประเมินผลตามพระราชบัญญัติสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 เป็นหลัก และการควบคุมการใช้ที่ดินและอาคารการก่อสร้างใช้พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2522 แต่มาตรการในการควบคุมของจังหวัดเองยังไม่มีการกำหนดใช้ / 4. การสนับสนุนจากส่วนกลาง และส่วนท้องถิ่น ในส่วนกลางให้การสนับสนุนเกี่ยวกับงบประมาณ โดยเป็นส่วนของงบประมาณประจำปีที่จังหวัดเสนอขอขึ้นไป แต่ก็ได้รับการสนับสนุนค่อนข้างน้อย ตลอดระยะเวลา ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2538-2539 ...
    • File Description:
      13, 172 แผ่น; 30 ซม; application/pdf
    • Relation:
      http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1807
    • الدخول الالكتروني :
      http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1807
    • Rights:
      ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
    • الرقم المعرف:
      edsbas.CD83BF8