Item request has been placed!
×
Item request cannot be made.
×
Processing Request
การเปรียบเทียบปริมาณรังสีที่ได้จากเทคนิคการสร้างภาพแบบ variable angle และ semi-orthogonal ของอุปกรณ์สอดใส่สารกัมมันตรังสี ในรังสีรักษาระยะใกล้ โดยวางแผนการรักษาแบบ 2 มิติ ; Dose comparison between variable angle and semi-orthogonal reconstruction techniques of the Fletcher applicator in 2D-based brachytherapy
Item request has been placed!
×
Item request cannot be made.
×
Processing Request
- معلومة اضافية
- بيانات النشر:
Thai Association of Radiation Oncology
- الموضوع:
2017
- Collection:
Thai Journals Online (ThaiJO)
- نبذة مختصرة :
หลักการและเหตุผล: ตำแหน่งอุปกรณ์สอดใส่สารกัมมันตรังสีในคอมพิวเตอร์วางแผนการรักษาด้วยรังสีระยะใกล้ที่คลาดเคลื่อน นำไปสู่การให้ปริมาณรังสีที่ไม่ถูกต้องได้ วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบปริมาณรังสีจากการสร้างภาพอุปกรณ์สอดใส่สารกัมมันตรังสีระหว่างเทคนิค variable angle (VA) และเทคนิค semi-orthogonal (SO) ในภาพ 2 มิติ วัสดุและวิธีการ: เครื่องจำลองการฉายรังสีถ่ายภาพรังสีอุปกรณ์สอดใส่สารกัมมันตรังสี (tandem และ tandem + ovoid) ใน แฟนทอมสมมูลย์เนื้อเยื่อ (เสมือนผู้ป่วย) ที่ครอบด้วยเครื่องมือช่วยสร้างภาพ (localization jig) ที่ 0o และ 90o โดยอุปกรณ์ สอดใส่สารกัมมันตรังสีอยู่ที่กลางเครื่องมือช่วยสร้างภาพ และจุดศูนย์กลางเครื่อง และที่ 4 ซม.ไปทางขวา ซ้าย ศีรษะ เท้า ส่งภาพทั้ง 5 ชุดไปที่โปรแกรมวางแผนการรักษา (Oncentra Brachy v. 4.3) เพื่อสร้างภาพทั้งเทคนิค VA และ SO ด้วยภาพ ชุดเดียวกัน กำหนดตำแหน่งและระยะเวลาของสารกัมมันตรังสีทั้ง 2 เทคนิคค่าเท่ากันและเปรียบเทียบปริมาณรังสีระหว่าง 2 เทคนิคที่จุดเดียวกันคือหน้า หลัง ขวาและซ้ายรอบอุปกรณ์สอดใส่สารกัมมันตรังสี ผลการศึกษา: เมื่ออุปกรณ์สอดใส่สารกัมมันตรังสีไม่อยู่กลางเครื่องมือช่วยสร้างภาพ ความแตกต่างปริมาณรังสีมากที่สุดอยู่ที่ แนวศีรษะ-เท้าใน tandem + ovoid มีค่า 6.48±1.78% (4.01 ถึง 8.97%) และเมื่ออุปกรณ์สอดใส่สารกัมมันตรังสีอยู่กลาง เครื่องมือช่วยสร้างภาพ ความแตกต่างปริมาณรังสีมากที่สุดใน tandem + ovoid มีค่า 1.72±1.25%(0.21 ถึง 2.76%) รายละเอียดของผลการศึกษาอยู่ในบทความ สรุป: จากการศึกษานี้ทั้ง 2 เทคนิคสามารถใช้ทดแทนกันได้ ถึงแม้ว่าอุปกรณ์สอดใส่สารกัมมันตรังสีเลื่อน 4 ซม.ไปทางขวา-ซ้าย จากกลางเครื่องมือช่วยสร้างภาพ แต่ไม่ควรเลื่อนไปทางศีรษะ-เท้า โดยความแตกต่างปริมาณรังสีมากที่สุดอยู่ในชุด tandem + ovoid ; Background: The applicator reconstruction uncertainties lead to an incorrect dose distribution for the patient. Objective: To compare the point dose between the variable angle (VA) reconstruction technique and the semi-orthogonal (SO) reconstruction technique of the Fletcher applicator in 2D-based brachytherapy treatment planning. Materials and methods: The applicators, tandem and tandem + ovoid set, in water equivalent in-house phantom with a localization jig were exposed at 0o ...
- File Description:
application/pdf
- Relation:
https://www.tci-thaijo.org/index.php/jtaro/article/view/203052/141642; https://www.tci-thaijo.org/index.php/jtaro/article/view/203052
- الدخول الالكتروني :
https://www.tci-thaijo.org/index.php/jtaro/article/view/203052
- Rights:
Copyright (c) 2017 Thai Association of Radiation Oncology ; http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/
- الرقم المعرف:
edsbas.99F44FFA
No Comments.