Item request has been placed!
×
Item request cannot be made.
×
Processing Request
การเคลื่อนไหวของประชาสังคมในเมืองเชียงใหม่ต่อประเด็นปัญหาที่เกิดจากความเป็นเมืองระหว่างปี พ.ศ. 2540 – 2551 ; Social Movements in Chiang Mai Against Problems from Urbanization During 1997-2008
Item request has been placed!
×
Item request cannot be made.
×
Processing Request
- المؤلفون: ประกาศวุฒิสาร, กานต์ชนก
- المصدر:
Journal of Social Sciences, Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University; Vol 21 No 1 (2009): ภูมิศาสตร์และการเปลี่ยนแปลงในล้านนา; 171-213 ; วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; Vol 21 No 1 (2009): ภูมิศาสตร์และการเปลี่ยนแปลงในล้านนา; 171-213 ; 2672-9563 ; 0125-4138
- نوع التسجيلة:
article in journal/newspaper
- اللغة:
Thai
- معلومة اضافية
- بيانات النشر:
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- الموضوع:
2019
- Collection:
Thai Journals Online (ThaiJO)
- نبذة مختصرة :
บทความนี้เป็นการทำความเข้าใจต่อการเคลื่อนไหวของประชาสังคมในเขตเมืองเชียงใหม่ ต่อประเด็นปัญหาที่เกิดจากความเป็นเมืองโดยสนใจศึกษาในช่วงเวลาระหว่างปี พ.ศ. 2540 - 2551 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการพัฒนาท้องถิ่นและ/หรือตรวจสอบการทำงานของภาครัฐอย่างกว้างขวาง การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาความเป็นเมืองที่เกิดขึ้นในเขตเมืองเชียงใหม่ ทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และปัญหาที่เกิดขึ้นจากความเป็นเมือง และเพื่อศึกษาพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของกลุ่มประชาสังคม 5 กลุ่มคือองค์กรกลุ่มเพื่อนร่วมงาน (POP) ภาคีคนฮักเจียงใหม่ ชมรมจักรยานวันอาทิตย์ เชียงใหม่ ชาวบ้านวัดเกต และชุมชนสุเทพผลการศึกษาพบว่า การพัฒนาที่มุ่งเน้นให้เชียงใหม่เป็นศูนย์กลางส่วนภูมิภาค ทำให้เกิดภาวะความเป็นเมืองของเมืองเชียงใหม่ โดยสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะคือ 1) ความเป็นเมืองเชิงพื้นที่ ดังจะเห็นว่ามีการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในเขตเมืองอย่างชัดเจน โดยเฉพาะความหนาแน่นของพื้นที่อยู่อาศัยและการกระจายตัวของพื้นที่พาณิชยกรรม อาคารสูงกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป มีสิ่งปลูกสร้างต่างๆอย่างไร้ระเบียบ และการเพิ่มสูงขึ้นราคาที่ดินในเขตเมือง 2) ความเป็นเมืองเชิงสังคม กล่าวคือ มีการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรและความหนาแน่น ตลอดจนการเพิ่มขึ้นของรายได้ต่อปีของประชากร และ 3)ความเป็นเมืองเชิงการเมือง ซึ่งเกิดจากนโยบายทั้งจากภาครัฐส่วนกลางและจากหน่วยงานท้องถิ่น ขณะเดียวกันความเป็นเมืองดังกล่าวก็นำมาสู่ปัญหาของความเป็นเมือง กล่าวคือ ปัญหาจากการกำหนดนโยบายของภาครัฐโดยขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน ปัญหาเรื่องความเสื่อมโทรมของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ปัญหาช่องว่างทางวัฒนธรรม ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจสำหรับการเคลื่อนไหวของกลุ่มประชาสังคม พบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดนั้นมีเป้าหมายการทำงานร่วมกัน คือ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ให้เป็นไปอย่างมีทิศทางที่ชัดเจนและสอดรับกับความต้องการของประชาชน โดยการมีส่วนร่วมนั้นต้องเป็นการมีส่วนร่วมในการรับรู้ข้อมูลโครงการการพัฒนาต่างๆอย่างโปร่งใส ชัดเจน มีส่วนร่วมในการนำเสนอข้อเสนอแนะและร่วมตัดสินใจ ซึ่งกลุ่มประชาสังคมส่วนใหญ่จะทำงานในลักษณะยืดหยุ่นและเป็นการทำงานในลักษณะของอาสาสมัคร หากแต่สามารถที่จะตรวจสอบ ผลักดัน และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาในเมืองเชียงใหม่ ...
- File Description:
application/pdf
- Relation:
https://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/173515/124315; https://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/173515
- الدخول الالكتروني :
https://www.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/173515
- Rights:
Copyright (c) 2019 Journal of Social Sciences, Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University ; https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
- الرقم المعرف:
edsbas.51837308
No Comments.