Item request has been placed! ×
Item request cannot be made. ×
loading  Processing Request

Collateral circulation at presentation in acute ischemic stroke and endovascular therapy outcome

Item request has been placed! ×
Item request cannot be made. ×
loading   Processing Request
  • المؤلفون: วรกิจธำรงค์ชัย, ธนบูรณ์
  • المصدر:
    Journal of Thai Stroke Society; Vol 15 No 1 (2016): January - April; 32-41 ; วารสารสมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย; Vol 15 No 1 (2016): January - April; 32-41 ; 2673-0227 ; 2697-4266
  • نوع التسجيلة:
    article in journal/newspaper
  • اللغة:
    Thai
  • معلومة اضافية
    • بيانات النشر:
      Thai Stroke Society
    • الموضوع:
      2019
    • Collection:
      Thai Journals Online (ThaiJO)
    • نبذة مختصرة :
      The collateral circulation is a subsidiary network of vessels that stabilize blood flow when intracranial arterial occlusion or severe stenosis, arterial insufficiency due to thromboembolism, hemodynamic compromise or a combination of these factors may lead to the recruitment of collaterals. Noninvasive imaging techniques now allow for real time assessments of the structural and functional components of this circulation. The adequacy of collaterals at the time of presentation of acute ischemic stroke patients has dramatic implications on the success of endovascular therapy, influencing not only technical success in terms of recanalization rates, but also the ultimate clinical outcome. Collateral status should be included in the process of selecting acute ischemic stroke patients for endovascular therapy, which could help improve our ability to identify those most likely to benefit from treatment. ; ภาวะที่มีหลอดเลือดข้างเคียงมาช่วยเลี้ยงเนื้อเยื่อสมอง หรือที่เรียกว่า collateral circulation เกิดขึ้นได้เมื่อหลอดเลือดสมองเกิดการอุดตันหรือตีบอย่างมาก การไหลเวียนเลือดที่ไม่เพียงพอจากการมีลิ่มเลือดที่ล่องลอยมาอุดตันหลอดเลือด การเกิดภาวะจลนศาสตร์การไหลเวียนของเลือดที่น้อย หรือหลายๆ ปัจจัยเหล่านี้รวมกันสามารถทำให้เกิดภาวะที่มีหลอดเลือดข้างเคียงมาช่วยเลี้ยงเนื้อเยื่อสมองได้ ปัจจุบันเราสามารถประเมินโครงสร้างและหน้าที่ของหลอดเลือดข้างเคียงที่มาช่วยเลี้ยงเนื้อเยื่อสมองจากการตรวจวินิจฉัยด้วยภาพรังสี ได้แก่ ภาพหลอดเลือดสมองจากการตรวจเอกซเรย์สมองคอมพิวเตอร์ภาพหลอดเลือดสมองจากการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นต้น เป็นที่ทราบกันว่า ภาวะที่มีหลอดเลือดข้างเคียงมาช่วยเลี้ยงเนื้อเยื่อสมองอย่างเพียงพอในขณะที่ผู้ป่วยเป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน อาจเป็นความหมายโดยนัยที่บอกถึงความสำเร็จของการรักษาด้วยสายสวนหลอดเลือดสมอง ซึ่งอาจเป็นผลมากจากความสำเร็จของการเปิดหลอดเลือดสมองที่อุดตันได้สำเร็จ หรือจากอาการทางคลินิกที่ดีขึ้นของผู้ป่วยเมื่อติดตามการรักษา ดังนั้นกายวิภาคหรือปริมาณของหลอดเลือดข้างเคียงที่มาช่วยเลี้ยงเนื้อเยื่อสมองควรเป็นอีกปัจจัยหนึ่งในการพิจารณาคัดเลือกผู้ป่วยที่จะได้รับประโยชน์จากการรักษาด้วยสายสวนหลอดเลือดสมอง
    • File Description:
      application/pdf
    • Relation:
      https://www.tci-thaijo.org/index.php/jtss/article/view/172117/123572; https://www.tci-thaijo.org/index.php/jtss/article/view/172117
    • Rights:
      Copyright (c) 2016 Thai Stroke Society ; https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
    • الرقم المعرف:
      edsbas.38DD9D